รวบรวมสาระความรู้เกี่ยวกับ โรคประสาท ไมเกรน ลมชัก อัลไซเมอร์ พาร์กินสันและโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมองทั้งหมด

หลากหลายปัญหาความผิดปกติของสมอง

รู้ลึกโรคร้ายที่เกิดขึ้นจากความปกติของสมอง

Migraine

หมั่นตรวจเช็คความผิดปกติทางสมองก่อนอันตรายถึงชีวิต

การตรวจสอบอวัยวะ ส่วนต่างๆของร่างกาย ถือว่าเป็นเรื่องที่เราควรที่จะต้องใส่ใจเข้ารับการตรวสุขภาพประจำปีอยู่แล้ว แต่บางครั้งการตรวจสุขภาพประจำปีก็อาจจะไม่ได้เข้าไปตรวจระบบบางอย่างที่มีความซับซ้อนมากเกินไปอย่างเช่นระบบสมองเป็นต้น หลายคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็น ราคาแพง แต่เอาจริงการหมั่นไปตรวจเช็คระบบสมองเป็นเรื่องที่เราควรทำนะการตรวจสอบอวัยวะ ส่วนต่างๆของร่างกาย ถือว่าเป็นเรื่องที่เราควรที่จะต้องใส่ใจเข้ารับการตรวสุขภาพประจำปีอยู่แล้ว แต่บางครั้งการตรวจสุขภาพประจำปีก็อาจจะไม่ได้เข้าไปตรวจระบบบางอย่างที่มีความซับซ้อนมากเกินไปอย่างเช่นระบบสมองเป็นต้น หลายคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็น ราคาแพง แต่เอาจริงการหมั่นไปตรวจเช็คระบบสมองเป็นเรื่องที่เราควรทำนะ

ทำไมต้องตรวจเช็คความผิดปกติของสมอง

ถามว่าทำไม เราต้องตรวจเช็ความผิดปกติดของสมองด้วย คำตอบก็คือ การเข้าไปตรวจเช็คความผิดปกติของสมองจะช่วยให้แพทย์มองเห็นภาพสมองของเราได้ชัดเจนยิ่งขึ้น หมอจะสามารถมองเห็นตำแหน่งต่างๆที่อาจจะเป็นเนื้องอก ฝี หรือ โรคติดเชื้อต่างๆ เมื่อเห็นก่อนแล้วก็จะได้ทำการรักษาให้เร็วขึ้น โอกาสหายมีสูงมาก หากไปพบทีหลัง หรือ ตอนที่อาการเริ่มออกฤทธิ์แล้ว ทุกอย่างอาจจะสายเกินไปก็เป็นได้ถามว่าทำไม เราต้องตรวจเช็ความผิดปกติดของสมองด้วย คำตอบก็คือ การเข้าไปตรวจเช็คความผิดปกติของสมองจะช่วยให้แพทย์มองเห็นภาพสมองของเราได้ชัดเจนยิ่งขึ้น 

ตรวจเช็คความผิดปกติผ่าน เครื่อง MRI

การตรวจเช็คสมองนั้น เดี๋ยวนี้ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิดแล้ว เครื่องไม้เครื่องมือเค้าก็มีการพัฒนาไปตามยุคสมัย อย่างปัจจุบันนี้เค้าใช้เครื่องตรวจพิเศษที่ชื่อว่า เครื่อง MRI แล้ว เรามีหน้าที่เตรียมตัวให้พร้อมตามคำสั่งหมอ จากนั้นก็นอนแล้วก็ลอดอุโมงค์เท่านั้นเอง (เหมือนในหนังที่ดูนั่นแหละ) จากนั้นก็ฟังสรุปผลเท่านั้น ไม่เจ็บปวด ไม่นานอย่างที่ใครๆคิดกันการตรวจเช็คสมองนั้น เดี๋ยวนี้ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิดแล้ว เครื่องไม้เครื่องมือเค้าก็มีการพัฒนาไปตามยุคสมัย อย่างปัจจุบันนี้เค้าใช้เครื่องตรวจพิเศษที่ชื่อว่า เครื่อง MRI แล้ว เรามีหน้าที่เตรียมตัวให้พร้อมตามคำสั่งหมอ

การหาสาเหตุโรคลมชักการหาสาเหตุโรคลมชัก

การตรวจความผิดปกติของสมอง ข้อมูลที่ได้รับสำคัญประการหนึ่งเป็นเรื่องของโรคลมชักที่ใครเคยเห็นคนใกล้ตัวเป็นนี่รู้เลย บางทีชักขึ้นมาแบบไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ย ทำเอาคนรอบตัวช่วยเหลือไม่ทันก็มี ดังนั้นหากเรารู้ว่าตัวเองเป็นโรคลมชักแบบไหน ก็จะช่วยให้ปฏิบัติตัวเองได้ถูกต้อง หรือบางคนอาจจะไม่รู้ด้วยซ้ำว่าที่ตัวเองเป็นลมชักนั้นไม่ได้เป็นลมชักจริงๆ เป็นอาการชักปลอมแบบนี้ก็ตรวจได้ จะได้สบายใจการตรวจความผิดปกติของสมอง ข้อมูลที่ได้รับสำคัญประการหนึ่งเป็นเรื่องของโรคลมชักที่ใครเคยเห็นคนใกล้ตัวเป็นนี่รู้เลย บางทีชักขึ้นมาแบบไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ย 

ตรวจเพื่อเช็คอาการซึมตรวจเพื่อเช็คอาการซึม

เราอาจจะเคยเห็น คนที่อยู่ในภาวะเซื่องซึม อาจจะมีสาเหตุมาจากเรื่องของอะไรก็ตาม บางครั้งการเข้าไปตรวจสมองด้วยเครื่องมือต่างๆ อาจจะช่วยให้วินิจฉัยข้อมูลได้ดีมากขึ้น การตรวจจะช่วยบอกระดับการตื่นของสมองว่ามีมากน้อยแค่ไหน วิธีนี้ก็ช่วยให้กระตุ้นให้หายจากการซึมได้ดีเราอาจจะเคยเห็น คนที่อยู่ในภาวะเซื่องซึม อาจจะมีสาเหตุมาจากเรื่องของอะไรก็ตาม บางครั้งการเข้าไปตรวจสมองด้วยเครื่องมือต่างๆ อาจจะช่วยให้วินิจฉัยข้อมูลได้ดีมากขึ้น การตรวจจะช่วยบอกระดับการตื่นของสมองว่ามีมากน้อยแค่ไหน วิธีนี้ก็ช่วยให้กระตุ้นให้หายจากการซึมได้ดี

สมองฝ่อเกิดจากอะไร และสามารถป้องกันได้อย่างไร

สมองฝ่อ หรือ สมองลีบ (Cerebral atrophy) เป็นคุณสมบัติของโรคที่ส่งผลต่อสมอง หมายถึงการสูญเสียของเซลล์หรือการหดตัวของสมอง เมื่อสมองของเราฝ่อ เซลล์ประสาทและการเชื่อมต่อของพวกมันก็จะหายไปและสมองก็เริ่มเล็กลง มันเป็นภัยอันตรายร้ายแรงมากสำหรับมนุษย์ เพราะอาจทำให้เกิดอาการชัก (Seizures) ภาวะจิตใจไม่มั่นคง (Dementia) รวมถึงความจำเสื่อม (Memory Loss) และ ความพิการทางสมอง (Aphasia) ซึ่งเป็นภาวะที่มีความยากลำบากในการพูดหรือมีปัญหาในการเข้าใจภาษา

LEARN MORE

อาการของโรคอัลไซเมอร์ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่

โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคภาวะสมองเสื่อมชนิดที่พบได้มากที่สุด อาการของโรคส่งผลต่อสมองส่วนควบคุมความคิด , ความทรงจำ และการใช้ภาษา อาการของโรคจะเริ่มจากการหลง      ๆลืมๆแบบไม่รุนแรงจนอาการจะเริ่มแย่ลงเรื่อยๆ จนถึงขั้นไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งรอบข้าง ส่งผลกระทบในการใช้ชีวิตประจำวันอย่างรุนแรง

ระยะเริ่มต้น

โดยอาการเริ่มต้นของแต่ละรายก็จะแตกต่างกันไป โดยสัญญาณแรกที่พบ คืออาการหลงลืม เช่น ลืมบทเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น , วางของผิดที่ , นึกชื่อสถานที่ไม่ออก , ชอบทำอะไรซ้ำๆ เช่น ถามคำถามเดิมหลายครั้ง , การตัดสินใจอะไรสักเรื่องหนึ่งกลายเป็นเรื่องยาก , อารมณ์แปรปรวนบ่อยครั้ง เช่น หงุดหงิด , วิตกกังวล , สับสน เป็นต้น

ระยะกลาง

ระยะนี้ผู้ป่วยจะยิ่งมีปัญหาด้านความทรงจำเข้าไปใหญ่ ผู้ป่วยต้องได้รับความช่วยเหลือในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร , การอาบน้ำแต่งตัว , และการเข้าห้องน้ำ เป็นต้น โดยอาการที่แสดงเพิ่มขึ้นอาจมีดังนี้ เช่น พยายามนึกชื่อครอบครัวแต่นึกไม่ออก , เกิดภาวะสับสนในเรื่องของสถานที่ เวลา และบุคคล , และ สิ่งที่ทำประจำ

ระยะปลาย

อาการของโรคจะรุนแรงขึ้นเป็นอย่างมาก จนสร้างความเสียใจ เหนื่อยใจ และความวิตกกังวลมาให้บุคคลใกล้ชิด ในระยะนี้ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลตลอดเวลา อาการหลงผิดจะยิ่งแย่ลงเรื่อย ๆ ผู้ป่วยจะอาละวาด , เรียกร้องความสนใจ , ไม่ไว้ใจผู้คนรอบข้าง , กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่ , ไม่สามารถสื่อสารได้อีกต่อไป

ไขข้อของใจของกระบวนการทำงานของสมอง

อาหารบำรุงสมอง รักษาอัลไซเมอร์ มีอะไรบ้าง

โรคทางสมองถือว่าเป็นอีกหนึ่งโรค หรือ ความผิดปกติที่รุนแรงมาก แถมมีผลต่อผู้ป่วยโดยตรงด้วย หนึ่งในความผิดปกติทางสมองที่น่ากลัวมากก็คือ โรคอัลไซเมอร์ หรือที่เรารู้จักกันว่าโรคความจำเสื่อม โรคนี้ความน่ากลัวก็คือการหลงลืมที่จะไม่ได้หลงลืมความทรงจำในอดีต แต่หลงลืมเรื่องที่ทำในชีวิตประจำวันด้วยลองนึกภาพว่า ผู้ป่วยทำอาหารแล้วเปิดเตาแก๊สค้างไว้สิ อาจจะทำให้เกิดไฟไหม้ได้เลย การรักษาโรคอัลไซเมอร์นั้น นอกจากจะต้องกินยาเคร่งครัดตามหมอสั่งแล้ว จะต้องกินอาหารที่มีประโยชน์ด้วยจะช่วยได้ แต่อาหารที่ว่ามีอะไรบ้างเรามีคำตอบ

ปลา

คนสูงวัยมักจะมีความผิดปกติเรื่องระบบย่อยอาหารร่วมด้วย ดังนั้นเพื่อลดปัญหาดังกล่าวการรับประทานอาหารควรเป็นเนื้อที่มีความละเอียด ย่อยง่ายไว้ก่อน ปลาจึงเป็นคำตอบที่สำคัญ ส่วนปลาที่จะช่วยเรื่องสมองกับอัลไซเมอร์ได้ต้องเป็นปลาแซลมอน ปลาซาร์ดีน ปลาเฮอร์ริ่ง ปลากลุ่มนี้จะมีไขมันโอเมก้า 3 สูงมาก จะช่วยบำรุงการทำงานของสมอง บวกกับ DHA ที่มีในตัวปลาจะช่วยพยุงโรคอัลไซเมอร์ไม่ให้เป็นหนักมากขึ้น


ธัญพืชชนิดต่างๆ

สำหรับคนที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ มักจะเป็นคนสูงวัยที่มักจะมีโรคอื่นเข้ามาแทรกซ้อนด้วย ดังนั้นจะกินอะไรต้องระมัดระวังไม่ให้การรักษาโรคอัลไซเมอร์ไปทำให้เกิดโรคอื่น เม็ดธัญพืชเป็นอาหารชั้นเยี่ยมที่จะช่วยให้สมองทำงานได้อย่างเต็มที่ สร้างความสดชื่นตั้งแต่เช้าจรดเย็น ส่วนธัญพืชเหล่านี้จะเป็นเม็ดเล็ก เคี้ยวง่าย กินง่าย(เหมาะทำเป็นอาหารหรือ ของกินเล่นก็ได้) ย่อยง่ายเหมาะกับผู้สูงวัยบางรายที่มีปัญหาเรื่องการย่อยอาหาร


เมล็ดฟักทอง


ของกินเล่นยามบ่าย แก้ง่วงเป็นอีกหนึ่งมื้อที่สำคัญของคนสูงวัยที่จะช่วยให้ร่างกายได้รับพลังงานระหว่างวันด้วย เราขอแนะนำ เมล็ดฟักทอง ตัวนี้นอกจากจะช่วยให้ยามบ่ายของเหล่าผู้สูงวัยมีอะไรทำไม่เบื่อแล้ว เมล็ดฟักทองยังมีสารที่ชื่อว่า สังกะสี ที่มันมีความสามารถในการช่วยเสริมสร้างความจำ ช่วยบำรุงสมองด้วย เพิ่มทักษะทางการคิดอีกด้วย เกินวันละ 1 กำมือ ก็เพียงพอแล้วสำหรับการรับประทาน

ดาร์คชอคโกแลต

คนสูงวัยบางคนมีอารมณ์ฉุนเฉียว อารมณ์ไม่ดี โมโห เครียด วิธีการแก้อย่างหนึ่งที่ช่วยได้ก็คือการได้กินอะไรที่มันหวาน ปน ขมหน่อยอย่าง ดาร์คชอคโกแลตนี่แหละงานดีเลย การได้กินของเหล่านี้จะลดอุณหภูมิความเครียดในร่างกายได้ ในดาร์คชอคโกแลตจะมีสารฟลาโวนอยด์ช่วยให้ระบบไหลเวียนเลือดทำได้ดีขึ้น บวกกับคาเฟอีนที่มีปริมาณเล็กน้อยจะช่วยให้เสริมสร้างสมองที่ถูกทำลายได้เช่นกัน อาหารเหล่านี้แม้จะไม่ได้ช่วยให้หายขาดจาก อัลไซเมอร์ได้ 100% 


4 โรคทางสมองที่พบบ่อย

อัลไซเมอร์อัลไซเมอร์

โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคอีกชนิดหนึ่งที่มีการพูดถึงกันมาก ที่สุดในกลุ่มของผู้สูงอายุ พบมากในกลุ่ม อายุ 65 ปีขึ้นไป


ไมเกรนไมเกรน

โรคนี้จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดหัวข้างเดียว อาจจะเป็นซีกซ้ายหรือขวาก็ได้ แต่บางครั้งอาจจะเกิดอาการทั้งสองข้าง


โรคสมองอักเสบ

การอักเสบตามบริเวณผิวหนังอาจจะเป็นเรื่องที่ไม่น่ากลัวเท่าไร กินยา ทายาตามแพทย์สั่งก็หาย แต่หากการอักเสบมันเกิดขึ้นที่สมองล่ะ บอกได้เลยว่าเป็นปัญหาใหญ่เลย 


สมองฝ่อสมองฝ่อ

สมองฝ่อ หรือ สมองลีบ (Cerebral atrophy) เป็นคุณสมบัติของโรคที่ส่งผลต่อสมอง หมายถึงการสูญเสียของเซลล์หรือการหดตัวของสมอง เมื่อสมองของเราฝ่อสมองฝ่อ


CASE STUDY

วิธีการดูแลคนป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์วิธีการดูแลคนป่วยที่เป็นโรคอัลไซเมอร์

ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์นั้น เป็นคนที่สามารถใช้ชีวิตได้เหมือนบุคคลปกติทั่วไป หากได้รับการดูแลรักษาได้ถูกต้อง และการจะทำแบบนั้นได้ ลูกหลาน และผู้ดูแลจำเป็นต้องได้รับความรู้ และวิธีการดูแลอย่างครบถ้วน วันนี้เรามาพร้อมทริปดี ๆ สำหรับการช่วยดูแลทั้งสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตของผู้ป่วยอัลไซเมอร์ให้มีสุขภาพดีตลอดเวลา
คนที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ มักจะรู้สึกไม่สบายใจ กังวล และมีอาการหดหู่ผสมกัน เมื่อเขาพบว่าการทำงานง่าย ๆ ที่ปกติเคยทำได้นั้น กลายเป็นเรื่องยากในปัจจุบัน การควบคุมอาการเหล่านี้ จะช่วยให้สุขภาพจิตใจอยู่ในสภาพที่ดี และใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขเช่นคนธรรมดาทั่วไปผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์นั้น เป็นคนที่สามารถใช้ชีวิตได้เหมือนบุคคลปกติทั่วไป หากได้รับการดูแลรักษาได้ถูกต้อง และการจะทำแบบนั้นได้ ลูกหลาน และผู้ดูแลจำเป็นต้องได้รับความรู้ และวิธีการดูแลอย่างครบถ้วน วันนี้เรามาพร้อมทริปดี ๆ สำหรับการช่วยดูแลทั้งสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตของผู้ป่วยอัลไซเมอร์ให้มีสุขภาพดีตลอดเวลา
คนที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ มักจะรู้สึกไม่สบายใจ กังวล และมีอาการหดหู่ผสมกัน เมื่อเขาพบว่าการทำงานง่าย ๆ ที่ปกติเคยทำได้นั้น กลายเป็นเรื่องยากในปัจจุบัน การควบคุมอาการเหล่านี้ จะช่วยให้สุขภาพจิตใจอยู่ในสภาพที่ดี และใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขเช่นคนธรรมดาทั่วไป

1.วางตารางเวลาอย่างระมัดระวังวางตารางเวลาอย่างระมัดระวัง

เช่นการจัดตารางการทำกิจกรรมภายในบ้าน ตั้งแต่อาบน้ำ กินข้าว และการหมอนัด โดยให้เวลาว่างในการทำกิจกรรมส่วนตัวของเขาอย่างเต็มที่ เพื่อไม่ให้คิดว่าเป็นการทำซ้ำ ๆ ที่น่าเบื่อเหมือนการถูกบังคับ และสุดท้ายก็จะทำให้สุขภาพจิตใจย่ำแย่ลงเช่นการจัดตารางการทำกิจกรรมภายในบ้าน ตั้งแต่อาบน้ำ กินข้าว และการหมอนัด โดยให้เวลาว่างในการทำกิจกรรมส่วนตัวของเขาอย่างเต็มที่ เพื่อไม่ให้คิดว่าเป็นการทำซ้ำ ๆ ที่น่าเบื่อเหมือนการถูกบังคับ และสุดท้ายก็จะทำให้สุขภาพจิตใจย่ำแย่ลง

3.เพิ่มการทำกิจกรรมภายในครอบครัวเพิ่มการทำกิจกรรมภายในครอบครัว

เป็นการช่วยให้สามารถทำอะไรเองได้มากขึ้น โดยได้รับความช่วยเหลือจากคนในครอบครัว อย่างเช่นการแต่งตัวเอง สมาชิกในบ้านอาจจะหยิบชุดให้ หรือเลือกชุดและวางไว้ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถหยิบสวมใส่เองได้ง่ายเป็นการช่วยให้สามารถทำอะไรเองได้มากขึ้น โดยได้รับความช่วยเหลือจากคนในครอบครัว อย่างเช่นการแต่งตัวเอง สมาชิกในบ้านอาจจะหยิบชุดให้ หรือเลือกชุดและวางไว้ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถหยิบสวมใส่เองได้ง่าย

2.ให้เวลามากกว่าปกติให้เวลามากกว่าปกติ

ให้คาดหวังไว้เลยว่าการทำกิจกรรมของผู้ที่เป็นอัลไซเมอร์ จะใช้เวลานานกว่าคนปกติทั่วไป ไม่ควรรีบเร่งให้เขาทำกิจกรรมนั้นให้เสร็จโดยไว จำเป็นการเพิ่มความเครียดสะสม ที่จะส่งผลต่ออนาคตให้คาดหวังไว้เลยว่าการทำกิจกรรมของผู้ที่เป็นอัลไซเมอร์ จะใช้เวลานานกว่าคนปกติทั่วไป ไม่ควรรีบเร่งให้เขาทำกิจกรรมนั้นให้เสร็จโดยไว จำเป็นการเพิ่มความเครียดสะสม ที่จะส่งผลต่ออนาคต




4.ลดสิ่งรบกวนรอบข้างลดสิ่งรบกวนรอบข้าง

เปิดทีวี หรืออุปกรณ์ที่ส่งเสียงดังให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ และลดการพูดคุยระหว่างการรับประทาน ให้ผู้ป่วยจดจ่ออยู่กับการทานอาหารเป็นสำคัญ รวมถึงการพูดคุยทั่วไปในบ้าน ไม่ควรคุยในที่เสียงดัง ทำให้สมาธิในการรับฟังนั้นน้อยลงเปิดทีวี หรืออุปกรณ์ที่ส่งเสียงดังให้น้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ และลดการพูดคุยระหว่างการรับประทาน ให้ผู้ป่วยจดจ่ออยู่กับการทานอาหารเป็นสำคัญ รวมถึงการพูดคุยทั่วไปในบ้าน ไม่ควรคุยในที่เสียงดัง ทำให้สมาธิในการรับฟังนั้นน้อยลง

Latest News

การดูแลป้องกันรักษาโรคที่เกิดจากระบบประสาทและสมอง 5 อาหารบำรุงสมองผู้สูงอายุ

ใครอยากเป็นผู้สูงอายุบ้างไม่มีหรอกใช่ไหมคะแต่วันหนึ่งทุกคนก็ต้องกลายเป็นผู้สูงอายุอยู่ดีวันนี้เรามีเคล็ดลับดีๆ ในการเลือกอาหาร ผลไม้ เพื่อช่วยซ่อมแซมการทำงานของอวัยวะต่างๆ โดยเฉพาะสมองที่คอยแต่จะเสื่อมถอยไปทุกวันๆวันนี้เรามีอาหารบำรุงสมองสำหรับผู้สูงวัยช่วยชะลอความทรงจำและให้สมองได้ทำงานดีขึ้นมาแนะนำค่ะ

Read more
November 7, 2022 0

สภาวะสมองล้าเกิดจากอะไร

 สภาวะสมองล้าเกิดจากอะไร ภาวะสมองล้า เป็นภาวะที่วัยรุ่นและวัยทำงานในยุคสมัยนี้ไม่ควรมองข้าม สำหรับโรคนี้แล้วไม่จำเป็นที่จัต้องมีอายุมากๆ แล้วเกิดความเสื่อมของร่างกายก็สามารถเป็นได้ หากคุณมีภาวะเครียดโดยที่ไม่รู้ตัว ประสาทหลอน สมองของคุณนั้นจะถูกใช้งานอย่างหนัก เป็นระยะเวลายาวนาน การที่จะเร่งทำงานให้เสร็จ การพักผ่อนน้อย หรือการทำงานอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลาที่นานเกินไป  ส่งผลให้สารสื่อประสาทในสมองซึ่งเป็นสารเคมีที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อสัญญานไฟฟ้าระหว่างเซลล์ของระบบประสาทในสมองของเรานั้นเกิดความเสียสมดุล ประสิทธิภาพในการทำงานของสมองของเราก็จะแย่ลงตามไปด้วย หากเกิดอาการบ่อยครั้งก็มีโอกาสที่จะเกิดโรคต่างๆตามมา เช่น สมองตีบ โรคกระเพาะ โรคอ้วน โรคเบาหวาน ภาวะประจำเดือนมาไม่ปกติ ฯลฯ สาเหตุหลักๆในการเกิดภาวะสมองล้า คลื่นแม่เหล็ก ที่มาจากการที่เราใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ แท็บแล็ตมากเกินไป ทำให้รบกวนการหลั่งสารสื่อประสาทในสมอง ความเครียด ทำให้เกิดการไหลเวียนของเลือดในสมองนั้นน้อยลง[…]

Read more
September 5, 2022 0

โรคประสาทหลอนเกิดจาก

  หลอน หรือ อาการประสาทหลอน  เป็นอาการทางประสาทที่ทำให้เรารู้สึกเหมือนได้สัมผัสสิ่งนั้นอยู่ ทั้งที่มันไม่มีอยู่จริง ไม่ว่าจะเป็นอาการเห็นภาพ ได้ยินเสียง ได้กลิ่น รับรู้รสชาติ ภาวะสมองล้า หรือเกิดความรู้สึก  สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการดังกล่าวนั้นคือ อาการทางจิต หรือโรคทางจิต เช่น โรคจิตเภท หรือโรคจำพวกที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทต่างๆ อย่างโรคพาร์กินสัน  นอกจากนี้อาการเหล่านี้ยังสามารถที่จะเกิดขึ้นได้กับผู้ที่ใช้ยาบางชนิดที่ทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ หรือผู้ที่มีอาการถอนยาและใช้ยาเสพติด หากพบว่าตัวเอง หรือคนใกล้ชิด มีอาการดังกล่าวควรที่จะพบแพทย์ เพื่อที่แพทย์นั้นจะได้ช่วยแนะนำควบคุมอาการ และดูแลให้อาการดีขึ้นได้ในระยะยาว เพราะอาการเหล่านี้มีผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน     อาการหลอนประเภทต่างๆ การเห็นภาพหลอน[…]

Read more
August 20, 2022 0